Outside In

Two photographers, myself and Yezi Dotti Li, took different inspirations from Welcome To My Life, a song by Simple Plan, and created a visual stream of stories that reflect on particular lyrics within the song: “You might think I’m happy, but I’m not going to be okay”. The essence of the song revolves around difficult phases of negative emotion that arises from depression.

The photographic series begins with a vivid tonality that appears positively happy, in which it reflects on an experience of how depression can limit an ability to express true feelings, causing an act of pretending. Seeing the world bright and beautiful may have sparked an enthusiastic hope, but no way has it allowed a feeling of lonesome to fade. This frustrating affection discourages a mindset to stay positive, blocks out what matters and limits perspective.

When an act of pretending is exposed, the inner world of depression emerges through reflections of a mirror, generating a virtual gap between reality and dreams; where complicated feelings are isolated within. It also embraces unstable emotions that prevent happiness from resurfacing and allows sadness to settle in.

ช่างภาพอิสระ, วุฒิพล อุจจธรรมรัตน์ และ Yezi Dotti Li, รับแรงบันดาลใจมาจากเพลง Welcome To My Life ของวง Simple Plan และนำความหมายของบทเพลงส่วนหนึ่ง ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า “คุณอาจคิดว่าฉันมีความสุข แต่จริง ๆ ฉันไม่โอเค” มาเป็นแนวคิดในการสร้างเรื่องราวผ่านชุดภาพถ่าย ที่สะท้อนให้เห็นถึงแก่นแท้ของบทเพลงนี้ ซึ่งเกี่ยวกับอารมณ์เชิงลบที่เกิดจากภาวะซึมเศร้า

เรื่องราวและแนวคิดทั้งหมดเริ่มต้นจากชุดภาพถ่ายที่เต็มเปี่ยมไปด้วยโทนสีที่มีชีวิตชีวา แสดงให้เห็นถึงความสุขและมุมมองในเชิงบวก แต่ในขณะเดียวกันยังสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบที่ถูกแอบแฝงอยู่ภายในอาการซึมเศร้า นั่นก็คือการหลอกตัวเองด้วยการซ้อนความรู้สึกภายใต้อารมณ์ในเชิงลบ การพยายามมองโลกในแง่ดีและมีสีสันอาจก่อให้เกิดความหวังได้บ้าง แต่มันไม่ก็สามารถกำจัดความเหงาและอาการซึมเศร้าให้หายได้ไป เนื่องจากจิตใจและอารมณ์ที่ถูกฉุดให้ครุ่นคิดแต่เชิงลบ ปิดกั้นมุมมองและทางเลือกอื่น ๆ จากการกักขังตัวเองอยู่ในกรอบ

ผลของการซ้อนความรู้สึกและหลอกตัวเองนั้น เผยให้เห็นมิติภายในของอาการซึมเศร้า ซึ่งเปรียบเสมือนเงาในกระจกที่สะท้อนให้เห็นจุดโหว่ของช่วงเวลาระหว่างความฝันและความเป็นจริง พร้อมกับความรู้สึกหงุดหงิดและสับสนที่ซ้อนอยู่ภายใน ทำให้อารมณ์เชิงลบเหล่านี้ยับยั่งความสุขเอาไว้ และปล่อยให้อาการซึมเศร้าได้ หลั่งไหลเข้ามาแทน

Size: A4 210mm x 297mm

Papers:
(1) Strathmore 104 gsm
(2) Conqueror Wove 100 gsm
(3) Eames 90 gsm
(4) Eggshell 104 gsm
(5) Greenread 75 gsm

Binding: Saddle Stitch, Stapled

Published in 2018
Self-Published
Bangkok, Thailand

Exhibitions:
→ Singapore Art Book Fair, 2018
→ Bangkok Art Book Fair, 2018
→ Taipei Art Book Fair, 2018
→ Seoul Art Book Fair, 2018
→ Melbourne Art Book Fair, 2019
→ Shanghai Art Book Fair, 2019
→ Singapore Art Book Fair, 2019
→ Tokyo Art Book Fair, 2019
→ Bangkok Art Book Fair, 2019
→ Seoul Art Book Fair, 2019